คาถาบูชาหลวงพ่อโสธร

คาถาบูชาหลวงพ่อโสธร
อิติ อิติ อิติ
โสธโร นะโม พุทธายะ
ยะธา พุธโมนะ

บทสวดมหากา

บทสวดมหากา


มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปารมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

ผู้พิมพ์ : คุณผึ้ง-สิรธันย์

บทสวดชัยมงคลคาถา

บทสวดชัยมงคลคาถา

พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถัง คุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ



ผู้พิมพ์ : คุณผึ้ง-สิรธันย์

คำถวายสังฆทาน

คำถวายสังฆทาน
(เพื่อความสุขความเจริญแก่ตัวท่านเอง)
.
อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ
โอโณชะยามะ สาธุโน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ
ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
.
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหารกับ ของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับ ซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ
.
คำถวายสังฆทาน
(อุทิศให้แก่ผู้ตาย)
.
อิมานิ มะยัง ภันเต มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ
โอโณชะยามะ สาธุโน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ญาตะกานัง กาละกะตานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
.
ข้าแต่พระสงฆ์ที่เจริญ ข้าเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายซึ่งมะตะกะภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์ ขอพรนะสงฆ์จงรับซึ่งมะตะกะภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลายมีบิดา มารดาเป็นต้น ผู้ทำกาลล่วงลับไปแล้วด้วย สิ้นกาลนานเทอญ
.
ที่มา จากหนังสือบทสวดมนต์ ของวัดชุมพล จ.พระนครศรีอยุธยา

พระคาถาชินบัญชร

พระคาถาชินบัญชร

เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาชินบัญชร ตั้งนะโม 3 จบก่อน
แล้วระลึกถึงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง
อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ

๑.
ชะยสวะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา
๒.
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฎฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
๓.
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
๔.
หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก
๕.
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก
๖.
เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
๗.
กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
๘.
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ
๙.
เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
๑๐.
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
๑๑.
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
๑๒.
ชินะ นานาวะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา
วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา
๑๓.
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร
๑๔.
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา
๑๕.
อิจเจวะมันโต สุคุตดต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติ
ที่มา จากหนังสือบทสวดมนต์ ของวัดชุมพล จ.พระนครศรีอยุธยา

บทกรวดน้ำ - แผ่อุทิศส่วนบุญ ส่วนกุศล

กรวดน้ำย่อ

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ ญาตะโยฯ
ผลบุญกุศลนี้จงสำเร็จประโยชน์แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า
ขอญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าจงเป็นสุขเป็นสุขเถิด ฯ

คำแผ่เมตตา
(วัดพรหมคุณารามแผ่เมตตาเป็นประจำ)

อะหัง สุขิโต โหมินิททุกโข โหมิอะเวโร
โหมิอัพยาปัชโฌ โหมิสุขี อัตตานังปะริหะรามิ
.
ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุขขอให้ข้าพเจ้าปราศจากทุกข์ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากการเบียดเบียนขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข ปลอดภัยทุกเมื่อเถิด

สัพเพ สัตตาอเวรา โหนตุอัพยาปัชฌา
โหนตุอะนีฆา โหนตุสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์์เกิดแก่เจ็บ ตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มี ความลำบากกายลำบากใจเลย
จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นเถิด

สัพเพ สัตตาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุสัพเพ
สัตตาลัทธะสัมปัตติโตมา วิคัจฉันตุ

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่ เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
ขอจงได้มีความพ้นทุกข์เถิดสัตว์ทั้งหลาย
ที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่ เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
จงอย่าไปปราศจาก สมบัติอันตนได้แล้วเถิด


สัพเพ สัตตาชะราธัมโมมหิชะรัง อะนะตีโต(หญิงว่า อะนะตีตา)
พะยาธิธัมโมมหิพะยาธิง อะนะตีโตมะระณะธัมโมมหิมะระณัง อะนะตีโต

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่ เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
เรามีความแก่ชราเป็นธรรมดาเราไม่ล่วงพ้น ความแก่ชราไปได้
เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาเราไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
เรามีความตายเป็นธรรมดาเราไม่ล่วงพ้นความตายไปได้


สัพเพ สัตตากัมมัสสะกากัมมะทายาทากัมมะโยนิกัมมะพันธุ
กัมมะปฏิสะระณายัง กัมมัง กะริสสันติกัลยาณัง
วาปาปะกัง วาตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่ เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
มีกรรมเป็นของ ๆ ตัวมีกรรมเป็นทายาทมีกรรมเป็นกำเนิด
มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัยได้
ทำกรรมอันใดไว้ดีก็ตามชั่วก็ตามเขาทั้งหลายเหล่านั้น จักได้รับผลของกรรมนั้นแล

นำข้อมูลมาจาก http://www.watprom.iirt.net/

พระคาถาบูชาหลวงปู่ทวด

พระคาถาบูชาหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด
ท่องนะโม 3 จบ

นะโม โพธิสัตโต
อาคันติมายะ อะติภะคะวา

คาถาบูชาพระพิฆเนศ

คาถาบูชาพระพิฆเนศ บทย่อ

โอมศรีคะเณศะยะณะมะ
โอมนมัชสิวายะ โอมตัสสะ
.
ท่อง 3 จบ
.
หรือ
.
“โอมฺ คเณศายะ นมัช, โอมฺ นมัช ศิวาย, โอมฺ ศรีมหาอุมา ปารวตี มาตา นมัช”

คาถาบูชาองค์พ่อจตุคามรามเทพ


มนต์คาถาบูชาองค์พ่อจตุคามรามเทพ

(ตั้งนะโม3จบ)

จตุคามรามเทวัง โพธสัตตัง มะหาคุณัง มะหิทธิกัง

อะหังปูเชมิ สิทธิลาโภ นิรันตะรัง

ข้าพเจ้าขอบูชา ท้าวจตุคามท้าวรามเทพโพธิสัตว์

ผู้มีพระคุณอันยิ่งใหญ่ มีฤทธานุภาพไพศาล

ขอความสำเร็จและลาภจงมีแก่ข้าพเจ้า เป็นนิรันดร เทอญ

บทสวดมนต์พระไตรปิฎก (ฉบับดั่งเดิม)


ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ต้นฉบับเดิม

ต้นฉบับเดิมเปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก จารเป็นอักษรขอม จารึกไว้ในใบลาน
โบราณาจารย์จึงได้แปลเป็นอักษรไทย หลวงธรรมาธิกรณ์ (พระภิกษุแสง)
ได้มาแต่พระแท่นศิลาอาสน์ มณฑลพิษณุโลก

มีคำกล่าวในหนังสือนำนั้นว่า ผู้ใดมียอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงส์ยิ่งกว่าได้สร้างพระเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลกและป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ทำมาหากินเจริญ ฯลฯ
ต่อมามีผู้นิยมสร้างหนังสือนี้ขึ้น โดยเชื่อว่าผู้ใดสร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้เป็นธรรมทาน และสวดมนต์สักการะบูชาเป็นประจำ จะมีผลานิสงส์สุดที่จะพรรณ นาให้ทั่วถึงได้ นับเป็นมหากุศลอันยิ่งใหญ่ จะมีความสุขสิริสวัสดิ์เจริญต่อไปทั้งปัจจุบันกาลและอนาคตภายภาคหน้า
ตลอดทั้งบุตรหลานสืบไป ด้วยอำนาจของความเคารพในพระคาถานี้
ประวัติต้นฉบับเดิมกล่าวว่า หนังสือยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ มีคำกล่าวไว้ในหนังสือนำว่าเป็น
พุทธมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ ถ้าผู้ใดได้สวดมนต์ภาวนาทุกเช้าค่ำแล้ว เป็นการบูชารำลึกถึงพระพุทธเจ้า ผู้นั้นจะไม่ไปตกอบายภูมิ แม้ได้บูชาไว้กับบ้านเรือน ก็ป้องกันอันตรายต่าง ๆ จะภาวนา
พระคาถาอื่น ๆ สัก ๑๐๐ ปี อานิสงส์ก็ไม่สูงเท่าภาวนาพระคาถานี้ครั้งหนึ่ง ถึงแม้ว่า อินทร์ พรหม ยมยักษ์ ที่มีอิทธิฤทธิ์ จะเนรมิตแผ่นอิฐเป็นทองคำก่อเป็นพระเจดีย์ ตั้งแต่มนุษย์โลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงส์ก็ยังไม่เท่าภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ และมีคำอธิบายคุณความดีไว้ในต้นฉบับเดิมนั้นอีกนานับปการ ฯ
ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ถ้าผู้ใดบริจาคทรัพย์สร้างถวายพระภิกษุสงฆ์ สามเณร ญาติ-มิตรสหาย หรือสวดจนครบ ๗ วัน ครบอายุปัจจุบันของตน จะบังเกิดโชคลาภทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยและภัยพิบัติทั้งปวง ฯ
ผู้ใดตั้งจิตเจริญภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกวันละสามจบ จะไม่มีบาปกรรม ทำสิ่งใดจะได้สมความปรารถนา สวดวันละเจ็ดจบ กระดูกลอยน้ำได้


พิธีไหว้พระและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

ก่อนเข้าห้องบูชาพระ ควรอาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดและนุ่งห่มให้เรียบร้อย เข้านั่งที่ด้วยความสำรวมกายใจ ตั้งจิตให้แน่วแน่เพ่งตรงยังพระพุทธรูป
ระลึกถึงพระรัตนตรัย ค่อยกราบ ๓ หน แล้วสงบจิตระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ของบุตร
จากนั้นจึงจุดเทียนบูชา ให้จุดเล่มด้านขวาของพระพุทธรูปก่อน แล้วจุดเล่มด้านซ้ายต่อไป จุดธูป ๓ ดอก เมื่อจุดเทียนธูปที่เครื่องสักการบูชาเสร็จแล้วเอาจิต (นึกเห็น) พระพุทธองค์มาเป็นประธาน
พึงนั่ง ชายพึงนั่งคุกเข่า หญิงนั่งท่าเทพนม ประนมมือ ตั้งใจบูชาพระรัตนตรัย นมัสการพระรัตนตรัย นมัสการพระพุทธเจ้า ไตรสรณคมน์และนมัสการพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วจึงเจริญภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก จะเพิ่มความขลังและความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น จะเกิดพลังจิตและมีความมั่นคงในชีวิต
พึงทราบด้วยว่า การเจริญภาวนาทุกครั้งต้องอยู่ในสถานที่อันสมควร ขอให้ทำจิตตั้งมั่นในบทสวดมนต์ จะมีเทพยดาอารักษ์ทั้งหลายร่วมอนุโมทนาสาธุการขออย่าได้ทำเล่น จะเกิดโทษแก่ตนเอง

ยิ่ง ทำ ยิ่ง ได้ ยิ่ง ให้ ยิ่ง มี

อานิสงส์การสร้างและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก เป็นธรรมทาน
โบราณท่านว่า ผู้ใดได้พบยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้แล้ว ท่านว่าเป็นบุญตัวอันประเสริฐนัก เมื่อพบแล้วให้พยายามท่องบ่นสวดภาวนาอยู่เป็นนิตย์ตราบเท่าชีวิต จนทำลายขันธ์จากมนุษย์โลก แล้วก็จะไปยังเกิดในสัมปรายภพสวรรค์สุคติภพด้วยพระอานิสงส์เป็นแน่แท้
ถ้าผู้ใดจะสวดขออานุภาพให้ผู้ป่วยไข้อาการจะดีขึ้น จะสวดแผ่กุศลอุทิศไปให้ บิดา มารดา หรือครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์ ผู้มีพระคุณของท่านแล้ว ให้เขียน จิ เจ รุ นิ และชื่อท่านนั้น ๆ ใส่กระดาษก่อนสวดทุกครั้ง เมื่อสวดกี่จบครบตามที่เราต้องการแล้วให้นำกระดาษนั้นเผาไฟ และกรวดน้ำโดยคารวะ บอกชื่อฝากพระแม่ธรณีนำกุศลอันนี้ให้ท่านผู้นั้น ได้ตามความปรารถนาของเราทุกครั้ง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวร
กิจการงานเจริญรุ่งเรือง อุดมด้วยโภคทรัพย์
ผู้ใดอุทิศบุญกุศล อันเกิดจากการสร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ให้ ปู่ย่า ตา ยาย บิดา มารดา ฯ บุตร หลาน ที่อยู่เบื้องหลังมีความเจริญรุ่งเรือง บิดา มารดา จะมีอายุยืน สามีภรรยา รักใคร่ดีต่อกัน บุตรหลานเป็นคนดี ปฏิสนธิวิญญาณบุตร เกิดมาเฉลียวฉลาด ปัญญาดี เลี้ยงง่าย สุขภาพดี วิญญาณของบรรพบุรุษจะสู่สุคติภพ เสริมบุญบารมีให้ตนเอง
แคล้วคลาดจากอันตรายต่าง ๆ เมื่อสิ้นอายุขัยจะไปสู่สุคติภูมิ
ขอตั้งสัตยาธิษฐาน ขอความเจริญรุ่งเรือง จงบังเกิดแก่ท่านผู้สร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ เพื่อความงอกงามในพระบวรพระพุทธศาสนาสืบไป.

คำบูชาพระรัตนตรัย

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธอิเมหิ สักกาเรหิ ,
ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิโย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมอิเมหิ สักกาเรหิ ,
ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิโย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆอิเมหิ สักกาเรหิ ,
ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ

คำนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวาพุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ ๑ หน)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ ๑ หน)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆสังฆัง นะมามิ (กราบ ๑ หน)

คำนมัสการพระพุทธเจ้า

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

คำนมัสการไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

คำนมัสการพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ


อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสามระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ


สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ


สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ


ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ต้นฉบับเดิม


๑.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา .
อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ อะระหันตัง สิระสา นะมามิ.
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ.
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ. วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ.
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ.สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ.โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ.


๒.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา.
อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ. อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ.
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ.ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ.
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ. สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ.
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. พุทธัง สิระสา นะมามิ. อิติปิ โส ภะคะวา ฯ


๓.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ-ปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะ-ณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะปารมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะปาระมิ จะสัมปันโน.


๔.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิโส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


๕.
อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


๖.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุสะมาธิ-ญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


๗.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


๘.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


๙.
กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมพู ทีปัญจะ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะนะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง
อา ปา มะ จุ ปะ, ที มะ สัง อัง ขุ, สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ, อุปะสะชะสะเห ปาสา
ยะโส ฯโส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะนา วิ เว, อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ,
อิสวาสุ, สุสวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ.


๑๐.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สาโพธิปัญ จะ อิสสะโร ธัมมา. กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก

อิติ สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา

อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะ ปัญจะ

สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมาพรหมาสัททะ ปัญจะสัตตะ สัตตาปาระมี

อะนุตตะโร ยะมะกะขะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะ

ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ

สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา

สังขาระขันโธ ทุกขัง ภะคะวะตา ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
พรหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา
ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.


๑๑.
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
พุทธิลาโภกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ
สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ
สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง
พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติ-สาวัง
เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง
มุนีสาวัง มหามุนีสาวัง
สัปปุริสะสาวัง มหาสัปปุริสะสาวัง

พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง
อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง
สัพพะโลกาอิริยานังสาวัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ.

สาวัง คุณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง ธัมมัง สัจจัง นิพพานัง
โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญา นิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง
สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง เอเตนะ สัจเจนะ
สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ


๑๒.
นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม อิติปิโส ภะคะวา.

นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปะ-ขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม.

สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง.

นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
ยาวะตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัต-ตา อุอะมะอะ วันทา
นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
นะโม พุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ


คำกรวดน้ำ ของยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก


อิมินา ปุญญะกัมเมนะ
ด้วยเดชะผลบุญของข้าพเจ้า ได้สร้างและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้
ขอให้ค้ำชู อุดหนุน คุณบิดามารดา พระมหากษัตริย์ ผู้มีพระคุณ
ญาติกา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร มิตรรักสนิท เพื่อนสรรพสัตว์น้อยใหญ่
พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา
แม่พระโพสพ พญายมราช นายนิริยบาล ท้าวจะตุโลกะบาลทั้งสี่
ศิริคุตอำมาตย์ ชั้นจาตุมมะหาราชิกาเบื้องบน สูงสุดจนถึงภวัคคะพรหม
และเบื้องล่างต่ำสุด ตั้งแต่โลกันตมหานรกและอเวจีขึ้นมา จนถึงโลกมนุษย์
สุดรอบขอบจักรวาล อนันตจักรวาล
คุณพระศรีรัตนตรัย และเทพยดาทั้งหลาย
ตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยมยักษ์ คนธรรพ์ นาคา พระเพลิง พระพาย พระพิรุณ
ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ได้สุขขอให้ได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป
ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าอุทิศให้ไปนี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบัน
และอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ
พุทธัง อะนันตัง ธัมมัง จักกะวาลัง สังฆัง นิพพานะปัจจะโย โหนตุ.
.....................................................
ตั้ง นะโม 3 จบ

ข้าพเจ้า ..........................กราบพระพุทธเจ้า กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
กราบบิดามารดา กราบครูบาอาจารย์

ขออำนาจพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จงดลบันดาลให้กุศลผลบุญที่ข้าพเจ้าได้สร้าง สั่งสมมาตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ จงไหลมารวมอยู่ที่ข้าพเจ้า และขอกุศลผลบุญนั้นจงอยู่ที่ข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตอุทิศส่วนกุศล และผลบุญดังกล่าวข้างต้นนี้ ให้แก่ดวงจิตดวงวิญญาณที่เจ็บและตายด้วยน้ำมือ หรือคำสั่งของข้าพเจ้าในอดีตชาติปางก่อน ณ บัดนี้

ท่านทั้งหลายจะอยู่ภพใด หรือภูมิใดก็ตาม ขอให้ทำตนได้รับผลบุญนี้ และขอจงได้รับส่วนกุศลผลบุญนี้ หากท่านทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ หากท่านสุขขอให้สุขยิ่งๆ ขึ้นไป ขอจงมาอนุโมทนาบุญ และรับส่วนบุญส่วนกุศลนี้ให้มีความร่มเย็นเป็นสุข

หากมีเวรกรรมใดต่อกัน ขอจงอโหสิกรรม และอนุโมทนาบุญแก่ข้าพเจ้าด้วยอำนาจแห่งบุญนี้ด้วยเทอญ

ทำจิตให้สงบตามเวลาที่ทำได้
....................................

โบราณว่าผู้ใดสร้างบุญกุศลและได้สวดภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกเป็นประจำจะมีอานิสงส์มาก เมื่อป่วยหนักให้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย
ครั้นกำลังจะสิ้นใจผู้อยู่ใกล้บอกนำว่า อะระหัง หรือ พุทโธ เรื่อย ๆ
เมื่อถึงแก่กรรม จงเขียน จิ. เจ. รุ. นิ. บนแผ่นทองหรือแผ่นเงิน ใบลาน, กระดาษ
แล้วม้วนเป็นตะกรุด (ห้ามคลี่) ใส่ปากให้ไปสู่สุคติในสัมปรายภพสวรรค์ด้วย


อานิสงส์การสวดและภาวนา ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก


ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกเป็นพุทธมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ ไว้สำหรับสวดและภาวนาทุกเช้าคำ
เพื่อความสวัสดีเป็นสิริมงคลแก่ผู้สาธยาย
บ่อเกิด มหาเตชัง มีเดชมาก มหานุภาวัง มีอานุภาพมาก และมีลาภยศ สุขสรรเสริญ
ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย อุปัทวันตราย และความพินาศทั้งปวง
ตลอดทั้งหมู่มารร้ายและศัตรูคู่อาฆาตไม่อาจแผ้วพานได้
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง เป็นต้น
เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้ว จะนำมาซึ่งลาภยศ สุขสรรเสริญและปราศจากอันตรายทั้งปวง
ตลอดทั้งเป็นการระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า เป็นการเจริญพระพุทธานุสติ
วิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นแดนเกิดของสมาธิอีกด้วย
อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ เป็นต้น
เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้ว เป็นการมอบกายถวายชีวิตไว้กับองค์พระพุทธเจ้า
หรือเอาองค์พระพุทธเจ้าเป็นตาข่ายเพชรคอยปกป้องคุ้มครองรักษาชีวิตให้ปราศจากเวรภัย

อิติปิโส ภะคะวา รูปะขันโธ เป็นต้น
เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้ว ขออาราธนาบารมีธรรมของพระพุทธองค์สิงสถิตในเบญจขันธ์ของเรา
เพื่อให้เกิดพระไตรลักษณญาน อันเป็นทางของพระนิพพานสืบต่อไป

อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุสะมาธิญาณสัมปันโน เป็นต้น
เมื่อสาธยายหรือภาวนา ขออำนาจสมาธิญาณของพระพุทธองค์เป็นไปในธาตุ ในจักรวาล ในเทวโลก
หรือในกามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ และในโลกุตรภูมิ
ขอจงมาบังเกิดในขันธสันดานของข้าพเจ้าหรือเรียกว่าเป็นการเจริญสมถภาวนา
อันเป็นบ่อเกิดแห่งรูปฌาน อรูปฌาน อภิญญา เป็นการเจริญวิปัสสนา
อันเป็นบ่อเกิดแห่งมรรคผลนิพพาน เป็นการหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง ฯ

กุสลา ธัมมา อิติปิโส ภะคะวา เป็นต้น
เป็นการสาธยายหัวใจพระวินัยปิฎก หัวใจพระสุตตันตปิฎก หัวใจพระอภิธรรมปิฎก และเป็นหัวใจพระเจ้า ๕๐๐ ชาติ พระเจ้า ๑๐ ชาติ และหัวใจ อิติปิ โส ตลอดทั้งหัวใจอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนมาก เมื่อภาวนาแล้วจะนำลาภ ยศ ฐาบรรดาศักดิ์ ทั้ง อายุ วรรณะ สุขะ พละ และจะป้องกันสรรพภัย ต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความสวัสดิมงคลแก่ตนและบุตรหลานสืบไป

อินทะสาวัง มหาอินทะสาวัง เป็นต้น
เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้วมีทั้งอำนาจ ตบะ เดชะ ความสุข ความเจริญรุ่งเรืองทุกประการ

พระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลายต่างก็กล่าวเน้นว่า พระพุทธศาสนาเป็นของจริงของแท้ที่เรายึดมั่นเป็นหลักชัยแห่งชีวิตได้ ยิ่งมีการปฏิบัติธรรมทั้งทาน ศีล ภาวนา สม่ำเสมอความสุขความเจริญเกิดขึ้นแก่ตนแน่ อย่าสงสัย การรวยทรัพย์สินเงินทองไม่ได้ก่ออานิสงส์ ไม่เท่ากับรวยบุญรวยกุศล ซึ่งจะบังเกิดความสุขความเจริญในปัจจุบัน และตามติดวิญญาณไปทุกภพทุกชาติด้วย
ฉะนั้น ชาวพุทธทั้งหลาย จงเจริญภาวนา ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกทุกเช้าค่ำเถิด
จะบังเกิดความสวัสดิมงคลแก่ตนและครอบครัว ให้มีความร่มเย็นเป็นสุขโดยทั่วหน้า


นมัสการพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์


นะโม เม สัพพะพุทธานัง ตัณหังกะโร มะหาวีโร สะระณังกะโร โลกะหิโต
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข สุมะโน สุมะโน ธีโร ปะทุโม โลกะปัชโชโต
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุชาโต สัพพะโลกัคโค อัตถะทัสสี การุณิโก
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ สิขี สัพพะหิโต
สัตถา กะกุสันโธ สัตถะวาโห กัสสะโป สิริสัปปันโน เตสาหัง สิระสา
ปาเท วะจะสา มะนะสา เจวะ อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโมสะยะเน อาสะเน ฐาเน
อุปปันนานัง มะเหสินัง เมธังกะโร มะหายะโส ทีปังกะโร ชุตินธะโร มังคะโล
ปุริสาสะโภ เรวะโต ระติวัฑฒะโน นาระโท วาระสาระถี สุเมโธ อัปปะฏิบุคคะโล
ปิยะทัสสี นะราสะโภ ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท ติสโส จะ วะทะตัง วะโร วิปัสสี จะ
อะนูปะโม เวสสะภู สุขะทายะโก โกนาคะมะโน ระณัญชะโห โคตะโม สักยะปุงคะโวฯ
วันทามิ ปุริสุตตะเม โสภิโต คุณะสัมปันโน วันทาเมเต ตะถาคะเต คะมเน จาปิ สัพพะทา


ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ซึ่งได้อุบัติแล้วคือ
พระตัณหังกรผู้กล้าหาญ พระเมธังกรผู้มียศใหญ่ พระสรณังกรผู้เกื้อกูลแก่ชาวโลก
พระทีปังกรผู้ทรงไว้ซึ่งปัญญาอันรุ่งเรือง

พระทีปังกรผู้ทรงไว้ซึ่งปัญญาอันรุ่งเรือง พระโกณฑัญญะผู้เป็นประมุขแห่งหมู่ชน พระมังคละผู้เป็นบุรุษประเสริฐ พระสุมนะผู้เป็นธีรบุรุษมีพระหฤทัยงาม พระเรวะตะผู้เพิ่มพูนความยินดี พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยพระคุณ พระอโนมทัสสีผู้สูงสุดอยู่ในหมู่ชน พระปทุมะผู้ทำให้โลกสว่าง พระนารทะผู้เป็นสารถีประเสริฐ พระปทุมุตตระผู้เป็นที่พึ่งของหมู่สัตว์ พระสุเมธะผู้หาบุคคลเปรียบมิได้ พระสุชาตะผู้เลิศกว่าสัตว์โลกทั้งปวง พระปิยทัสสีผู้ประเสริฐกว่าหมู่นรชน พระอัตถทัสสีผู้มีพระกรุณา พระธรรมทัสสีผู้บรรเทาความมืด พระสิทธัตถะผู้หาบุคคลเสมอมิได้ในโลก พระติสสะผู้ประเสริฐกว่านักปราชญ์ทั้งหลาย พระปุสสะผู้ประทานธรรมอันประเสริฐ พระวิปัสสสี ผู้หาที่เปรียบมิได้ พระสิขีผู้เป็นศาสดาเกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ พระเวสสภู ผู้ประทานความสุข พระกกุสันธะ ผู้นำสัตว์ออกจากกันดารตัวกิเลส พระโกนาคมนะผู้หักเสียซึ่งข้าศึกคือกิเลส
พระกัสสปะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริ พระโคตมะผู้ประเสริฐแห่งหมู่ศากยราช

ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระบาท ของพระพุทธเจ้าเหล่านั้นด้วยเศียรเกล้า และขอกราบไหว้พระพุทธเจ้าเหล่านั้นผู้เป็นบุรุษอันสูงสุด ผู้เป็นตถาคตด้วยวาจาและใจทีเดียว
ทั้งในที่นอนในที่นั่ง ในที่ยืน และแม้ในที่เดินด้วยในกาลทุกเมื่อ ฯ

ตัณ เม สะ ที โก มัง สุ เร โส อะ ปะ นา ปะ สุ สุ ปิ
อะ ธะ สิ ติ ปุ วิ สิ เว กุ โก กะ โค นะมามิหัง

พระนามพระพุทธเจ้า ตั้งแต่พระองค์แรกถึงพระองค์ปัจจุบัน
โบราณาจารย์ท่านถือว่าเป็นพระคาถาแก้วสารพัดนึก
นำข้อมูลมาจาก http://www.watprom.iirt.net/